คมนาคมตีปีกขานรับมติครม.นำบินไทยเข้าพรบ.ล้มละลาย “ศักดิ์สยาม”ลั่นเอ็กซเรย์ทุกรูรั่ว-ชูต้นแบบJAL/AA โมเดล
คมนาคมตีปีกขานรับมติครม.นำบินไทยเข้าพรบ.ล้มละลาย
“ศักดิ์สยาม”ลั่นเอ็กซเรย์ทุกรูรั่ว-ชูต้นแบบJAL/AA โมเดล
เรื่องโดย...เพ็ญรุ่ง ใยสามเสน #gurutourza #รายการรวยด้วยข่าวเสาร์อาทิตย์FM97 #คมนาคมลั่นเอ็กซ์เรย์ทุกรูรั่ว #การบินไทยเข้าพรบล้มละลาย
2.เห็นชอบลดสัดส่วนการถือหุ้นกระทรวงการคลังในการบินไทยต่ำกว่า 50 % ซึ่งจะทำให้การบินไทยหลุดพ้นจากการเป็นรัฐวิสาหกิจ
นายศักดิ์สยามกล่าวว่า สาเหตุที่กระทรวงคมนาคมต้องเสนอแนวทางนี้ ตามที่ทุกฝ่ายทราบเกี่ยวกับการบินไทยมีปัญหาเรื่องการประกอบกิจการ ซึ่งสถานะทางการเงิน ณ สิ้นปี 2562 มีหนี้สินและดอกเบี้ยอยู่ทั้งสิ้น 147,352 ยังไม่รวมหนี้สินปี 2563 ซึ่งหนี้สินจำนวนดังกล่าวการบินไทยคาดการณ์ว่า ถ้าการดำเนินการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ก็จะมีหนี้สินมากกว่า 200,000 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าฐานะการเงินของการบินไทยอยู่ในขั้นวิกฤต จึงจะต้องพิจารณาแนวทางการแก้ปัญหา
จากข้อมูลดังกล่าวการบินไทยมีสภาพหนี้สินล้นพ้นตัว เป็นเหตุให้กระทรวงการคมนาคมและคลังพิจารณาร่วมกัน เบื้องต้น คลังพิจารณาจะช่วยเหลือโดยเพิ่มสภาพคล่องค้ำประกันเงินกู้ ตรงนี้คมนาคมเคยเห็นด้วยแต่ได้ขอให้การบินไทยจัดทำแผนฟื้นฟู ACTION PLAN เสนอมาเพื่อประกอบการพิจารณา
“ศักดิ์สยาม”ลั่นเอ็กซเรย์ทุกรูรั่ว-ชูต้นแบบJAL/AA โมเดล
เรื่องโดย...เพ็ญรุ่ง ใยสามเสน #gurutourza #รายการรวยด้วยข่าวเสาร์อาทิตย์FM97 #คมนาคมลั่นเอ็กซ์เรย์ทุกรูรั่ว #การบินไทยเข้าพรบล้มละลาย
“ศักดิ์สยาม” นำทีมเปิดขั้นตอนฟื้นฟูการบินไทยหลัง ครม.ให้ดาบเข้า พรบ.ล้มละลาย พ.ศ.2483 ลั่น “เอ็กซเรย์รูรั่วทุกจุด-ดัน6 หน่วยธุรกิจ (business unit) หารายได้-ตั้งทีมบริหารแผนเสนอนายกฯ-ชูโมเดลต้นแบบ Japan Airline: JAL-AA:American Airlines”
นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม 2563 โดยแถลงร่วมกับทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีนางมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และทีมงาน ถึงมติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม 2563 พิจารณาการแก้ปัญหา บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ตามมติของ คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลวิสาหกิจ (คนร.) เมื่อวันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2563 ดังนี้
นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม 2563 โดยแถลงร่วมกับทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีนางมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และทีมงาน ถึงมติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม 2563 พิจารณาการแก้ปัญหา บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ตามมติของ คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลวิสาหกิจ (คนร.) เมื่อวันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม 2563 ดังนี้
เพิ่มคำบรรยายภาพ
2.เห็นชอบลดสัดส่วนการถือหุ้นกระทรวงการคลังในการบินไทยต่ำกว่า 50 % ซึ่งจะทำให้การบินไทยหลุดพ้นจากการเป็นรัฐวิสาหกิจ
นายศักดิ์สยามกล่าวว่า สาเหตุที่กระทรวงคมนาคมต้องเสนอแนวทางนี้ ตามที่ทุกฝ่ายทราบเกี่ยวกับการบินไทยมีปัญหาเรื่องการประกอบกิจการ ซึ่งสถานะทางการเงิน ณ สิ้นปี 2562 มีหนี้สินและดอกเบี้ยอยู่ทั้งสิ้น 147,352 ยังไม่รวมหนี้สินปี 2563 ซึ่งหนี้สินจำนวนดังกล่าวการบินไทยคาดการณ์ว่า ถ้าการดำเนินการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ก็จะมีหนี้สินมากกว่า 200,000 ล้านบาท จะเห็นได้ว่าฐานะการเงินของการบินไทยอยู่ในขั้นวิกฤต จึงจะต้องพิจารณาแนวทางการแก้ปัญหา
จากข้อมูลดังกล่าวการบินไทยมีสภาพหนี้สินล้นพ้นตัว เป็นเหตุให้กระทรวงการคมนาคมและคลังพิจารณาร่วมกัน เบื้องต้น คลังพิจารณาจะช่วยเหลือโดยเพิ่มสภาพคล่องค้ำประกันเงินกู้ ตรงนี้คมนาคมเคยเห็นด้วยแต่ได้ขอให้การบินไทยจัดทำแผนฟื้นฟู ACTION PLAN เสนอมาเพื่อประกอบการพิจารณา
รวมถึงแผนการบินไทยทำเสนอขึ้นมา ทางกระทรวงคมนาคมเห็นความเสี่ยงถึง 23 เรื่อง ทางกระทรวงคมนาคม จึงพิจารณาหากเห็นชอบตามแผนดังกล่าวไปก็จะไม่สามารถปฏิบัติตามแผนดังกล่าวได้ ทำให้รัฐบาลอาจจะต้องสูญเสียเงินมากกว่า 50,000 ล้านบาท โดยไม่ได้กลับคืนมา แล้วก็จะมีปัญหาต่อไปหากไปค้ำประกันเงินกู้แล้วไม่สามารถแก้ไขได้ รัฐบาลก็จะต้องตัดสินใจใส่เงินเข้าไปอีก ตรงจุดนี้ถ้าเป็นกรณีเช่นนี้ก็จะเกิดความเสียหายต่อการฟื้นฟูการบินไทยและงบประมาณ
ดังนั้นแนวทางนี้ทางกระทรวงคมนาคมจึงเสนอความเห็นว่า จะเป็นแนวทางแรก ที่จะใส่เงินเพิ่มเข้าไป อาจไม่สามารถดำเนินงานได้ จึงขอให้ทาง คนร.ทบทวนมติ ขณะเดียวกันทางคมนาคมยังไปพิจารณาเพิ่มอีก 2 แนวทาง คือ
แนวทางที่ 2 รัฐบาลไม่ดำเนินการใด ๆ เลย ปล่อยให้การบินไทยเข้าสู่การล้มละลาย จากข้อมูลที่นำเสนอฐานะทางการเงินนั้นการบินไทยมีโอกาสเป็นเช่นนั้นได้ แต่ไม่เป็นผลดีต่อการบินไทย อีกทั้งยังส่งผลทำให้การบินไทยถูกพิทักษ์ทรัพย์ ยุติการดำเนินธุรกิจทันที บินต่อไปอีกไม่ได้ ประกอบกิจการอีก 6 หน่วยธุรกิจไม่ได้ ทั้งหมดจะทำให้ถูกอายัดทรัพย์ ขายทอดตลาด เพื่อนำมาชำระหนี้ กระทบถึงพนักงานทั้งหมดกว่า 20,000 คน ตกงาน ถูกลอยแพ กระทบต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าหนี้ ในรูปแบบล้มละลายเสียทรัพย์สินอย่างถาวร
แนวทางที่ 3 การเข้าสู่กระบวนการตาม พรบ.ล้มละลาย พ.ศ.2563 ซึ่งเป็นแนวทางการฟื้นฟูไม่ใช่ปล่อยล้มละลาย ในขั้นตอนคือ ขอให้ ครม.เห็นชอบให้การบินไทยเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูดังกล่าว ลดหุ้นกระทรวงคลังลงให้เหลือต่ำกว่า 50 % เพื่อยื่นฟื้นฟู โดยหลังจากนี้ไปทางการบินไทยจะต้องทำเรื่องยื่นคำร้องล้มละลายไปยังศาลเพื่อขอฟื้นฟูกิจการ จะต้องตั้งคณะทำงานเพื่อเจรจากับเจ้าหนี้ และตรวจสอบบัญชีลูกหนี้อย่างไรบ้าง
ขั้นตอนหลังศาลรับคำฟ้องฟื้นฟูกิจการ การบินไทย จะได้รับการคุ้มครองตามมาตรา 90/12 เรียกว่า “สภาวะพักชำระหนี้” AUTOMATIC STAY ทำให้สามารถหยุดดอกเบี้ย หลังจากนั้นจะเจรจากับเจ้าหนี้ในและนอกประเทศ เพื่อทำแผนฟื้นฟูให้การบินไทยกลับมาดำเนินกิจการได้
โดยศาลจะนัดวันไต่สวน หลังจากนั้นจะตั้งคณะกรรมการทำแผน ขณะนี้เตรียมเสนอชื่อบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ เสนอนายกรัฐมนตรี พิจารณาว่า มีความเหมาะสมในการจัดทำแผนฟื้นฟูการบินไทยหรือไม่
หากศาลเห็นชอบ ก็จะตั้งผู้ทำแผนแล้วเข้าควบคุมกิจการ ประชุมเจ้าหนี้ เพื่อฟื้นฟู ปรับปรุงแผน หากเจ้าหนี้ไม่เห็นด้วย หากเห็นด้วยก็สามารถส่งศาลพิจารณา เพื่อแต่งตั้ง “ผู้บริหารแผน” ต่อไป เพื่อฟื้นฟูตามขั้นตอน
สำหรับกรอบเวลาการทำงานเพื่อนำการบินไทยเข้าสู่กระบวนการตาม พรบ.ล้มละลาย พ.ศ.2483
ประเด็นที่ 1 จะต้องทำโดยเร็วที่สุด ภายในสัปดาห์หน้าจะต้องเสนอรายชื่อบุคคลที่สามารถเข้ามาทำงานได้จริง ปราศจากการแซกแซง เป็นหัวใจให้การบินไทยฟื้นฟูกิจการได้
ประเด็นที่ 2 สังคมตั้งคำถามหากการบินไทยเข้าแผนฟื้นฟูแล้วจะเกิดอะไรขึ้น ต้องอธิบายว่ายังคงดำเนินกิจการได้อยู่ แต่ทำภายใต้แผนฟื้นฟูที่ศาลพิจารณา ภายใต้การกำกับจากคณะบุคคลที่ศาลแต่งตั้ง ส่วนผลกระทบที่ประชาชนอาจสงสัยว่าจะมีผลต่อสภาพเศรษฐกิจหรือไม่ วันนี้ทางรัฐมนตรีช่วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ไปชี้แจงแผนตามข้อมูลให้ทาง ครม.ได้รับทราบถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา
รมว.ศักดิ์สยาม กล่าวว่าการฟื้นฟูกิจการตามโมเดลที่ดำเนินการอยู่ในโลกนี้ ตัวอย่าง สายการบินญี่ปุ่น “เจแปน แอร์ไลน์ส :JAL” ยื่นภายในปี 2510 ใช้เวลาออกจากแผนฟื้นฟูภายใน 14 เดือน แล้วกลับมาทำกำไรปีละ 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐ จนถึงปัจจุบัน สามารถกำกับดูแลอย่างเป็นระบบชัดเจน หรือ สหรัฐอเมริกา คือ อเมริกัน แอร์ไลน์ส กรุ๊ป ก็ทำในลักษณะเดียวกัน เช่น American Airlines ใช้เวลา 3 ปี ผมมั่นใจ 6 หน่วยธุรกิจการบินไทย มีประสิทธิภาพดำเนินการ แต่วันนี้สถานการณ์โควิดจะต้องมีการปรับตัว ถึงเวลาที่จะต้องเอ็กซเรย์
ถึงเวลาที่การบินไทยต้องเอ็กซ์เรย์ ไม่ว่าจะเป็นเกี่ยวกับการบริหารที่เป็นข่าว ต้องแยกออกจากกัน จะต้องไปไล่ดูว่าทำอะไรกันมาถึงได้เกิดปัญหา เพราะนายกรัฐมนตรีเคยพูดจะช่วยการบินไทยเมื่อปี 2558 แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องหันมาร่วมกันทำงาน เพราะต้องการฟื้นฟูการทำงาน ผมกับปลัดได้คุยกับทางสหภาพ หาทางออกอยู่ในสถานการณ์จริงไม่ให้เกิดปัญหาทำได้จริง แต่จะทำลักษณะไหนก็เป็นเรื่องที่มาคุยกัน
คมนาคมตัดสินใจทำแบบนี้ เพราะมีต้นแบบ อีกทั้งต้องกราบขอบพระคุณที่นายกรัฐมนตรีตัดสินใจทำเรื่องนี้ ขณะนี้คมนาคมไม่ได้มีเฉพาะการบินไทย ยังมี ขสมก. ส่ง คนร.ไปแล้ว 2 เดือน หากทำได้จะฟื้นภายใน 7 ปี ส่วนที่เหลือ รฟท. บขส.สิ่งเหล่านี้ดำเนินการอยู่ ไม่เหนือบ่ากว่าแรง ที่จะดำเนินการได้
ขอให้อธิบายกับพี่น้องประชาชนอย่าได้ตื่นตระหนก เพราะในโลกมีการดำเนินการมาแล้ว นายกรัฐมนตรีไม่ได้ทำแบบตัดเลย กรณีที่พนักงานมี 30,000 คน แล้วปลดพนักงานเลย
นายศักดิ์สยาม ยังคงกล่าวย้ำ ๆ ว่า การยื่นฟื้นฟูตาม พรบ.ล้มละลาย ต้องรีบดำเนินการ แนวทางหลัก ๆ ขณะนี้ บอร์ด ยังคงอยู่ แต่จะต้องมีการประชุม เพื่อดำเนินการตามมติ ครม.
ณ ปัจจุบัน การบินไทยยังตงมีสภาพเป็นรัฐวิสาหกิจ หากกระทรวงการคลังปรับลดลงต่ำกว่า 50 % ต่อเมื่อการบินไทยก็จะหลุดพ้นจากรัฐวิสากิจ เวลานั้นจึงจะพิจารณาจัดตั้งบอร์ด และฝ่ายบริหาร ส่วนคำสั่งตั้งบอร์ดใหม่กำลังอยู่ระหว่างการเสนอตัวบุคคล แต่ทางคมนาคมจะต้องดูให้เรียบร้อยแล้ว ภาส่วยในสัปดาห์หน้าจะพิจารณาเรื่องบอร์ด โดยจะขอให้นายกรัฐมนตรีพิจารณา 15 คน ส่วนฝ่ายบริหารต้องดูแต่ละฝ่ายแต่ละด้านเสนอไปให้ครบถ้วน
คณะผู้บริหารการบินไทย จะเข้ามาทำหน้าที่ได้หลังจากนายกรัฐมนตรีพิจารณาเรียบร้อยแล้ว ตามขั้นตอน คือ
1.จัดหาผู้บริหารแผน โดยต้องคัดคนเป็นมืออาชีพที่ทุกฝ่ายให้การยอมรับทั้งในไทยและต่างประเทศ มีประสบการณ์ ความสามารถ สังคมยอมรับ ซื่อสัตย์สุจริต มีผลงานเชิงประจักษ์ฟื้นฟูสายการบิน ได้
2.กระทรวงการคลังลดสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อให้พ้นสภาพการเป็นรัฐวิสาหกิจ
3.ให้ทางกระทรวงคมนาคม กำกับดูแลแผนฟื้นฟูการบินไทย ถึงแม้จะพ้นสภาพจากการเป็นรัฐวิสาหกิจแล้วก็ตาม
ทั้งนี้การเปิดเที่ยวบินประจำจะต้องดูองค์ประกอบหลัก ๆ ซึ่งจะต้องมาทำแผน หากสถานการณ์โควิดไม่มีแล้ว ก็สามารถกลับมาบินได้
ซึ่งทางกระทรวงคมนาคม ได้กำหนด กรอบการทำงาน เพื่อนำการบินไทยเข้า พรบ.ล้มละลาย เพื่อฟื้นฟูกิจการ โดยเร็ว สรุปคร่าว ๆ ดังนี้
🎀สัปดาห์หน้า จะเสนอชื่อคณะกรรมการบริหารแผนต่อนายกรัฐมนตรี หน้าที่ของผมคือหาคนมาทำแผน แล้วคอยดูดีกว่า
🎀ยืนยันจะใช้เวลาไม่ถึง 1 ปี ทำแผนฟื้นฟูวางแนวทาง ตั้งทีม ควบคู่ภารกิจ จะต้องให้เวลาเจรจา ซึ่งวันนี้มอบหมายให้การบินไทยไปดูรายละเอียดเจ้าหนี้และลูกหนี้ เพราะวันนี้ไม่ใช่ธุรกิจล้มละลาย แต่เข้า พรบ.ล้มละลาย เพื่อให้มีทางออกที่ดี
🎀ขณะนี้สัดส่วนการเป็นหนี้ต่างประเทศ 35 % กับเช่าฝูงบิน 10 % ปี 2562 มีหนี้อยู่ 1.4 แสนล้านบาท ปี 2563 ประเมินจะมีหนี้ 2.4 แสนล้านบาท ตอนนี้เมื่อนายกรัฐมนตรีตัดสินใจมาแล้วก็ไม่ต้องกังวลอีกต่อไป เพราะทั่วโลกก็ทำกันทั้งนั้น
🎀ต้องว่าจ้างที่ปรึกษาทางการกฎหมายเข้ามาดำเนินการด้วย ปัจจุบันมีโครงข่ายทั่วโลกอยู่แล้ว
การบินไทยเมื่อเข้าแผนฟื้นฟูก็ต้องเป็นไปตามขั้นตอนของตลาดหลักทรัพย์แห่งทรัพย์แห่งประเทศไทย ตัวอย่าง TPI
🎀สำหรับการลดสัดส่วนหุ้นกระทรวงการคลัง ได้หารือกันแล้วในหลักการ จะต้องดูว่าจะขายให้ใคร
🎀ส่วนสหภาพแรงงานจะมาคุยกันเพื่อหาทางออกที่ปฏิบัติได้บนพื้นฐานตามจริง
🎀การทำแผนฟื้นฟู ศาล จะมีขั้นตอนการกำกับดูแล ลูกหนี้ เจ้าหนี้ อย่างชัดเจน
แนวทางที่ 2 รัฐบาลไม่ดำเนินการใด ๆ เลย ปล่อยให้การบินไทยเข้าสู่การล้มละลาย จากข้อมูลที่นำเสนอฐานะทางการเงินนั้นการบินไทยมีโอกาสเป็นเช่นนั้นได้ แต่ไม่เป็นผลดีต่อการบินไทย อีกทั้งยังส่งผลทำให้การบินไทยถูกพิทักษ์ทรัพย์ ยุติการดำเนินธุรกิจทันที บินต่อไปอีกไม่ได้ ประกอบกิจการอีก 6 หน่วยธุรกิจไม่ได้ ทั้งหมดจะทำให้ถูกอายัดทรัพย์ ขายทอดตลาด เพื่อนำมาชำระหนี้ กระทบถึงพนักงานทั้งหมดกว่า 20,000 คน ตกงาน ถูกลอยแพ กระทบต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าหนี้ ในรูปแบบล้มละลายเสียทรัพย์สินอย่างถาวร
แนวทางที่ 3 การเข้าสู่กระบวนการตาม พรบ.ล้มละลาย พ.ศ.2563 ซึ่งเป็นแนวทางการฟื้นฟูไม่ใช่ปล่อยล้มละลาย ในขั้นตอนคือ ขอให้ ครม.เห็นชอบให้การบินไทยเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูดังกล่าว ลดหุ้นกระทรวงคลังลงให้เหลือต่ำกว่า 50 % เพื่อยื่นฟื้นฟู โดยหลังจากนี้ไปทางการบินไทยจะต้องทำเรื่องยื่นคำร้องล้มละลายไปยังศาลเพื่อขอฟื้นฟูกิจการ จะต้องตั้งคณะทำงานเพื่อเจรจากับเจ้าหนี้ และตรวจสอบบัญชีลูกหนี้อย่างไรบ้าง
ขั้นตอนหลังศาลรับคำฟ้องฟื้นฟูกิจการ การบินไทย จะได้รับการคุ้มครองตามมาตรา 90/12 เรียกว่า “สภาวะพักชำระหนี้” AUTOMATIC STAY ทำให้สามารถหยุดดอกเบี้ย หลังจากนั้นจะเจรจากับเจ้าหนี้ในและนอกประเทศ เพื่อทำแผนฟื้นฟูให้การบินไทยกลับมาดำเนินกิจการได้
โดยศาลจะนัดวันไต่สวน หลังจากนั้นจะตั้งคณะกรรมการทำแผน ขณะนี้เตรียมเสนอชื่อบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ เสนอนายกรัฐมนตรี พิจารณาว่า มีความเหมาะสมในการจัดทำแผนฟื้นฟูการบินไทยหรือไม่
หากศาลเห็นชอบ ก็จะตั้งผู้ทำแผนแล้วเข้าควบคุมกิจการ ประชุมเจ้าหนี้ เพื่อฟื้นฟู ปรับปรุงแผน หากเจ้าหนี้ไม่เห็นด้วย หากเห็นด้วยก็สามารถส่งศาลพิจารณา เพื่อแต่งตั้ง “ผู้บริหารแผน” ต่อไป เพื่อฟื้นฟูตามขั้นตอน
สำหรับกรอบเวลาการทำงานเพื่อนำการบินไทยเข้าสู่กระบวนการตาม พรบ.ล้มละลาย พ.ศ.2483
ประเด็นที่ 1 จะต้องทำโดยเร็วที่สุด ภายในสัปดาห์หน้าจะต้องเสนอรายชื่อบุคคลที่สามารถเข้ามาทำงานได้จริง ปราศจากการแซกแซง เป็นหัวใจให้การบินไทยฟื้นฟูกิจการได้
ประเด็นที่ 2 สังคมตั้งคำถามหากการบินไทยเข้าแผนฟื้นฟูแล้วจะเกิดอะไรขึ้น ต้องอธิบายว่ายังคงดำเนินกิจการได้อยู่ แต่ทำภายใต้แผนฟื้นฟูที่ศาลพิจารณา ภายใต้การกำกับจากคณะบุคคลที่ศาลแต่งตั้ง ส่วนผลกระทบที่ประชาชนอาจสงสัยว่าจะมีผลต่อสภาพเศรษฐกิจหรือไม่ วันนี้ทางรัฐมนตรีช่วยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ไปชี้แจงแผนตามข้อมูลให้ทาง ครม.ได้รับทราบถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา
รมว.ศักดิ์สยาม กล่าวว่าการฟื้นฟูกิจการตามโมเดลที่ดำเนินการอยู่ในโลกนี้ ตัวอย่าง สายการบินญี่ปุ่น “เจแปน แอร์ไลน์ส :JAL” ยื่นภายในปี 2510 ใช้เวลาออกจากแผนฟื้นฟูภายใน 14 เดือน แล้วกลับมาทำกำไรปีละ 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐ จนถึงปัจจุบัน สามารถกำกับดูแลอย่างเป็นระบบชัดเจน หรือ สหรัฐอเมริกา คือ อเมริกัน แอร์ไลน์ส กรุ๊ป ก็ทำในลักษณะเดียวกัน เช่น American Airlines ใช้เวลา 3 ปี ผมมั่นใจ 6 หน่วยธุรกิจการบินไทย มีประสิทธิภาพดำเนินการ แต่วันนี้สถานการณ์โควิดจะต้องมีการปรับตัว ถึงเวลาที่จะต้องเอ็กซเรย์
ถึงเวลาที่การบินไทยต้องเอ็กซ์เรย์ ไม่ว่าจะเป็นเกี่ยวกับการบริหารที่เป็นข่าว ต้องแยกออกจากกัน จะต้องไปไล่ดูว่าทำอะไรกันมาถึงได้เกิดปัญหา เพราะนายกรัฐมนตรีเคยพูดจะช่วยการบินไทยเมื่อปี 2558 แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องหันมาร่วมกันทำงาน เพราะต้องการฟื้นฟูการทำงาน ผมกับปลัดได้คุยกับทางสหภาพ หาทางออกอยู่ในสถานการณ์จริงไม่ให้เกิดปัญหาทำได้จริง แต่จะทำลักษณะไหนก็เป็นเรื่องที่มาคุยกัน
คมนาคมตัดสินใจทำแบบนี้ เพราะมีต้นแบบ อีกทั้งต้องกราบขอบพระคุณที่นายกรัฐมนตรีตัดสินใจทำเรื่องนี้ ขณะนี้คมนาคมไม่ได้มีเฉพาะการบินไทย ยังมี ขสมก. ส่ง คนร.ไปแล้ว 2 เดือน หากทำได้จะฟื้นภายใน 7 ปี ส่วนที่เหลือ รฟท. บขส.สิ่งเหล่านี้ดำเนินการอยู่ ไม่เหนือบ่ากว่าแรง ที่จะดำเนินการได้
ขอให้อธิบายกับพี่น้องประชาชนอย่าได้ตื่นตระหนก เพราะในโลกมีการดำเนินการมาแล้ว นายกรัฐมนตรีไม่ได้ทำแบบตัดเลย กรณีที่พนักงานมี 30,000 คน แล้วปลดพนักงานเลย
นายศักดิ์สยาม ยังคงกล่าวย้ำ ๆ ว่า การยื่นฟื้นฟูตาม พรบ.ล้มละลาย ต้องรีบดำเนินการ แนวทางหลัก ๆ ขณะนี้ บอร์ด ยังคงอยู่ แต่จะต้องมีการประชุม เพื่อดำเนินการตามมติ ครม.
ณ ปัจจุบัน การบินไทยยังตงมีสภาพเป็นรัฐวิสาหกิจ หากกระทรวงการคลังปรับลดลงต่ำกว่า 50 % ต่อเมื่อการบินไทยก็จะหลุดพ้นจากรัฐวิสากิจ เวลานั้นจึงจะพิจารณาจัดตั้งบอร์ด และฝ่ายบริหาร ส่วนคำสั่งตั้งบอร์ดใหม่กำลังอยู่ระหว่างการเสนอตัวบุคคล แต่ทางคมนาคมจะต้องดูให้เรียบร้อยแล้ว ภาส่วยในสัปดาห์หน้าจะพิจารณาเรื่องบอร์ด โดยจะขอให้นายกรัฐมนตรีพิจารณา 15 คน ส่วนฝ่ายบริหารต้องดูแต่ละฝ่ายแต่ละด้านเสนอไปให้ครบถ้วน
คณะผู้บริหารการบินไทย จะเข้ามาทำหน้าที่ได้หลังจากนายกรัฐมนตรีพิจารณาเรียบร้อยแล้ว ตามขั้นตอน คือ
1.จัดหาผู้บริหารแผน โดยต้องคัดคนเป็นมืออาชีพที่ทุกฝ่ายให้การยอมรับทั้งในไทยและต่างประเทศ มีประสบการณ์ ความสามารถ สังคมยอมรับ ซื่อสัตย์สุจริต มีผลงานเชิงประจักษ์ฟื้นฟูสายการบิน ได้
2.กระทรวงการคลังลดสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อให้พ้นสภาพการเป็นรัฐวิสาหกิจ
3.ให้ทางกระทรวงคมนาคม กำกับดูแลแผนฟื้นฟูการบินไทย ถึงแม้จะพ้นสภาพจากการเป็นรัฐวิสาหกิจแล้วก็ตาม
ทั้งนี้การเปิดเที่ยวบินประจำจะต้องดูองค์ประกอบหลัก ๆ ซึ่งจะต้องมาทำแผน หากสถานการณ์โควิดไม่มีแล้ว ก็สามารถกลับมาบินได้
ซึ่งทางกระทรวงคมนาคม ได้กำหนด กรอบการทำงาน เพื่อนำการบินไทยเข้า พรบ.ล้มละลาย เพื่อฟื้นฟูกิจการ โดยเร็ว สรุปคร่าว ๆ ดังนี้
🎀สัปดาห์หน้า จะเสนอชื่อคณะกรรมการบริหารแผนต่อนายกรัฐมนตรี หน้าที่ของผมคือหาคนมาทำแผน แล้วคอยดูดีกว่า
🎀ยืนยันจะใช้เวลาไม่ถึง 1 ปี ทำแผนฟื้นฟูวางแนวทาง ตั้งทีม ควบคู่ภารกิจ จะต้องให้เวลาเจรจา ซึ่งวันนี้มอบหมายให้การบินไทยไปดูรายละเอียดเจ้าหนี้และลูกหนี้ เพราะวันนี้ไม่ใช่ธุรกิจล้มละลาย แต่เข้า พรบ.ล้มละลาย เพื่อให้มีทางออกที่ดี
🎀ขณะนี้สัดส่วนการเป็นหนี้ต่างประเทศ 35 % กับเช่าฝูงบิน 10 % ปี 2562 มีหนี้อยู่ 1.4 แสนล้านบาท ปี 2563 ประเมินจะมีหนี้ 2.4 แสนล้านบาท ตอนนี้เมื่อนายกรัฐมนตรีตัดสินใจมาแล้วก็ไม่ต้องกังวลอีกต่อไป เพราะทั่วโลกก็ทำกันทั้งนั้น
🎀ต้องว่าจ้างที่ปรึกษาทางการกฎหมายเข้ามาดำเนินการด้วย ปัจจุบันมีโครงข่ายทั่วโลกอยู่แล้ว
การบินไทยเมื่อเข้าแผนฟื้นฟูก็ต้องเป็นไปตามขั้นตอนของตลาดหลักทรัพย์แห่งทรัพย์แห่งประเทศไทย ตัวอย่าง TPI
🎀สำหรับการลดสัดส่วนหุ้นกระทรวงการคลัง ได้หารือกันแล้วในหลักการ จะต้องดูว่าจะขายให้ใคร
🎀ส่วนสหภาพแรงงานจะมาคุยกันเพื่อหาทางออกที่ปฏิบัติได้บนพื้นฐานตามจริง
🎀การทำแผนฟื้นฟู ศาล จะมีขั้นตอนการกำกับดูแล ลูกหนี้ เจ้าหนี้ อย่างชัดเจน
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น